ตัวอักษรวิ่ง

วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ประชุมผู้บริหารกลุ่มโรงเรียนเมืองกันทร์ ณ โรงเรียนบ้านไหล่ดุมตาเหมา... Welcome To Laidumtamouw School*

วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ค่าน้ำนม

อิ่มอุ่น ศุ บุญเลี้ยง

ความเป็นมาวันแม่แห่งชาติ

แต่เดิมนั้น วันแม่แห่งชาติได้กำหนดเอาไว้เมื่อ วันที่ 15 เมษายน ของทุก ๆ ปี ซึ่งเป็นมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2493 ได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมา นั้นได้รับความสำเร็จด้วยดีด้วยประชาชนให้การสนับสนุนจนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป และมีการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การประกวดคำขวัญวันแม่ ประกวดเรียงความวันแม่ การประกวดแม่ของชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความสำคัญของแม่ ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจำปีของชาติตามประกาศของ รัฐบาลฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม โดยทั่วไปเรียกกันว่าวันแม่ของชาติ ต่อมา พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนแปลงใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็น วันแม่แห่งชาติ เริ่มใน ปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่
ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย มะลิ เป็นพืชดอก พบได้ในเอเชีย ดอกมีกลิ่นหอมเย็น คนไทยนิยมนำมาลอยน้ำเย็นเพื่อดื่ม พันธุ์ดอกมะลิ มะลิลา หรือ มะลิซ้อน เป็นไม้รอเลื้อย กิ่งอ่อนและกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนมีขน ใบเป็นใบเดียวออกเป็นคู่ตรงกันข้ามกัน ใบเป็นรูปไข่ขอบเรียบ ดอกออกเป็นช่อ มี 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน กลีบดอกชั้นเดียว ปลายกลีบมน ดอกสีขาว มะลุลี ลักษณะต้น ใบ อื่น ๆ คล้ายมะลิลา แต่ใบใหญ่กว่าดอกออกเป็นช่อ มี 3 ดอก และดอกกลางบานก่อน เช่นกัน แต่มีดอกซ้อน 3-4 ชั้น ปลายกลีบมน มะลิถอด ลักษณะ โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งต้น ใบ การจัดเรียงของใบ รูปแบบของใบคล้ายมะลิลาซ้อน แต่ใบเป็นคลื่น ดอกเป็นช่อมี 3 ดอก ดอกซ้อนมากชั้นกว่า คือ 3-6 ชั้น มะลิซ้อน ลักษณะ ทั่ว ๆ ไปคล้ายมะลิถอด และมะลิลาซ้อน แต่ใบมีลักษณะแคบกว่า ดอกออกเป็นช่อมี 3 ดอกเช่นกัน กลีบดอกซ้อน แต่ซ้อนกว่า 5 ชั้น มะลิพิกุล หรือ มะลิฉัตร ลักษณะต่าง ๆ คล้ายกับ 4 ชนิดแรก ใบคล้ายมะลิซ้อนและมีคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นช่อ 3 ดอก ดอกซ้อนเป็นชั้น ๆ

วันพุธที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ชุมชนร่วมพัฒนาโรงเรียน






ผลงานและความภาคภูมิใจ

คุณครูเยาวมาลย์   ละเลิศ
ผู้ฝึกสอนเพลงพระราชนิพนธ์
คณะครูนำนักเรียนร่วมแข่งขันเพลงพระราชนิพนธ์ที่่จังหวัดมหาสารคาม

โครงการเด่น

โครงการเด่น


จำนวนนักเรียน

จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2555 

ทำเนียบบุคลากร

ทำเนียบบุคลากรโรงเรียนบ้านไหล่ดุมตาเหมา

โครงสร้างการบริหาร

โครงสร้างการบริหาร

นโยบาย กลยุทธ์

นโยบาย

กลยุทธ์

วิสัยทัศน์ พันธกิจ

วิสัยทัศน์


พันธกิจ

ประวัติความเป็นมา


ประวัติโรงเรียนโดยย่อ
                โรงเรียนบ้านไหล่ดุมตาเหมา  ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่  16  พฤษภาคม  ..  2483                   โดยนายอำเภอกันทรลักษ์ สมัยนั้น  ตั้งชื่อว่าโรงเรียนบ้านไหล่ดุมตามชื่อหมู่บ้านในพื้นที่ประมาณ  8 ไร่  เป็นโรงเรียนประชาบาล  สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ  เปิดทำการสอนตามหลักสูตรตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4  และมีนายดำ  ฮงทอง  เป็นครูใหญ่คนแรก

ข้อมูลพื้นฐาน


โรงเรียนบ้านไหล่ดุมตาเหมา  ที่ตั้งที่ตั้ง  หมู่ที่ 2   บ้านไหล่ดุม   ตำบลสังเม็ก         อำเภอกันทรลักษ์    จังหวัดศรีสะเกษ   สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4โทรศัพท์  045-660262   รหัสไปรษณีย์  33110   โทรสาร -   e-mail  Noot547@hotmail.com                         Website Http//school.sskebu 4.go.th  /laidum  เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1   ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  เนื้อที่  8  ไร่  -  ตารางวา  เขตพื้นที่บริการ   2 หมู่บ้าน     คือ หมู่ที่ 2  บ้านไหล่ดุม                 หมู่ที่ 6 บ้านตาเหมา